วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2556

การใช้ , (คอมม่า)


1. แยกใจความของประโยคออกจากกัน
The students completed their test on Monday, and the teachers handed in the grades on Thursday
2. แยกส่วนขยายหรือข้อความที่สามารถละกันได้ออกจากประโยค
Last night’s party, says my best friend, was the best ever.
3. แยกของที่อยู่ใน series ออกจากกัน
One of my friend is able to speak English, Chinese, Japanese and Vietnamese.
4. แยก quote จากส่วนอื่นของประโยค
My father said, “Finish your homework before going out!!”
5. อื่นๆ
■ใช้กับวันที่ เช่น December 30, 2008
■ใช้ในการแยกตัวเลขหลักพัน เช่น 87,950 people
■ตำแหน่งหรือสถานะทางการศึกษา เช่น Dan Smith, MD, will speak after Rosanne Smith, Ph.D.
■คำพูดเปิดในจดหมายอย่างไม่เป็นทางการ เช่น Dear Dave,
■คำพูดลงท้ายในจดหมาย เช่น Yours, หรือ Love, [ไม่เป็นทางการ] ; Best regards, [เป็นทางการ]

Interjection (การอุทาน)


 การอุทาน (Interjection = อินเตอร์เจคชั่น) คือคำพูดที่พูดออกไปด้วยอารมณ์ต่างๆ เพื่อแสดงออกถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นขณะนั้น เช่น ดีใจ เสียใจ หรือ โกรธ เป็นต้น
รูปแบบของการอุทาน มี 2 ชนิด คือ
1. การอุทานที่เป็นคำเดียวโดดๆ หรือเป็นกลุ่มคำ (วลี) เช่น
1. ประหลาดใจ
- Oh!                             =    โอ! ออ! โอ้โฮ!
- Indeed!                       =    จริงๆ! แท้จริง!
- Wow!                          =    โอ้โฮ!
2. เศร้าใจ
- Alas!                             =   โอย! ตายจริง!
- Ah!                                   อา! โอย!
- Alack!                          =    อนิจจา!
3. ดีใจ
- Hurrah!                        =    ไชโย!
- Ha!                             =    ฮา!
- Bravo!                         =    ไชโย!
4. รังเกียจ
- Ugh!                            =    ทุด! ถุย!
5. เหยียดหยาม
- Dam!                           =    สมน้ำหน้า!
- Pooh!                           =    ชึ!
- Bosh!                           =    เหลวไหล!
6. ติเตียน
- Fie!                              =    เชอะ! ถุย!
7. เตือนให้ระวัง
- Hark!                            =    ฟัง!
- Hush!                           =    อย่าทำเสียงดัง!
8. เรียกหรือทักทาย
- Ho!                               =    ฮ้า!
- Hello                             =    สวัสดี!
- Hullo                             =    ฮัลโหล!
คำอุทานที่เป็นกลุ่มคำได้แก่
1. Well done!                     =    เยี่ยมไปเลย!
2. Just my luck!                  =    โชคของผมแท้ๆ!
3. O dear me!                     =   โอ่ ได้โปรดเถอะ!
2. การอุทานที่ออกมาในรูปแบบของประโยค เช่น ประโยคอุทานที่ขึ้นต้นด้วย What และ How เช่น
1. What a pity!                   =  ช่างน่าสงสารอะไรอย่างนั้น
2. What a mess!                 =  มันช่างสับสนอะไรอย่างนั้น
3. What a fool he is!            =  เขาช่างโง่อะไรอย่างนั้น!
4. What a shame you can’t come! = ช่างน่าอายอะไรอย่างนั้นที่คุณมาไม่ได้!
5. What an awful noise!        = มันช่างเสียงดังอะไรอย่างนั้น!
6. What a nuisance!              = มันช่างน่ารำคาญอะไรอย่างนั้น
7. What a shame!                 = ช่างน่าอายอะไรอย่างนั้น!
8. What a pretty girl!             = เธอช่างน่ารักอะไรอย่างนั้น!
9. What an expensive dress!   = ชุดอะไรช่างแพงอย่างนั้น!
10. What a large room!          = ห้องอะไรช่างใหญ่อย่างนั้น!
11. What lovely children!        = ช่างเป็นเด็กที่น่ารักอะไรอย่างนั้น
12. What delicious food it is!  = มันช่างเป็นอาหารที่อร่อยอะไรอย่างนั้น!
13. How nice of you to come!  = ช่างดีเหลือเกินที่คุณมาได้!
14. How cold this room is!       = ห้องนี้ช่างหนาวอะไรอย่างนั้น!
15. How strong he is!              = เขาช่างแข็งแรงอะไรอย่างนั้น!
16. How quickly the time passes!  = เวลาช่างผ่านไปรวดเร็วอะไรอย่างนั้น!
17. How heavy it rains!            =    ฝนช่างตกหนักอะไรอย่างนั้น!
            ประโยคอุทาน บางอย่างก็ขึ้นต้นด้วยคำกริยาวิเศษณ์ (Adverb) เช่น
1. Away you go!                      = แกออกไปซะ!
2. Here it comes!                     = มานี่แล้วไง
3. There they are!                    = พวกเขาอยู่ที่นั่นเอง
4. There goes the bus!              = รถโดยสารไปโน่นแล้ว
            นอกจากนี้ประโยคอุทาน ยังใช้เพื่อการอวยพร หรือแสดงความยินดีได้อีกด้วย เช่น
1. Long live the King.                = ขอจงทรงพระเจริญ
2. God save you.                       = ขอให้พระเจ้าคุ้มครองคุณ
3. Have a good trip.                   = ขอให้เดินทางโดยปลอดภัย
4. Best of luck.                         = ขอให้โชคดี

Gerund


Gerund นี้คือคำกริยาซึ่งซึ่งถูกเติม ing ข้างหลังเพื่อที่จะทำการแปลงจากคำกริยาเป็นคำนาม เมื่อนำมาใช้ในประโยคนั้นสามารถที่จะเป็นประธาน กรรม 
1. ใช้ Gerund เมื่อตามหลังกริยาเหล่านี้
admit (ยอมรับ)
anticipate (มุ่งหวัง)
appreciate (ซาบซึ้ง)
avoid (หลีกเลี่ยง)
compare (เปรียบเทียบ)
complete (ทำเสร็จ)
confess (สารภาพ)
consider (พิจารณา)
delay (ทำให้ช้า)
deny (ปฏิเสธ)
detest (รังเกียจ)
discuss (สนทนา)
dislike (ไม่ชอบ)
enjoy (สนุกสนาน)
escape (หลบหนี)
excuse (แก้ต่าง)
fancy (นึกฝัน, จินตนาการ)
finish (เสร็จ, สำเร็จ)
forgive (ให้อภัย, ยกโทษ)
imagine (จินตนาการ)
involve (เกี่ยวข้อง)
mention (กล่าวถึง)
mind (รังเกียจ)
miss (พลาด)
practice (ฝึกฝน)
postpone (เลื่อน, ผลัด)
recognize (จำได้)
recollect (ย้อนระลึก)
report (รายงาน)
resent (ขุ่นเคือง)
resist (ต้านทาน)
risk (เสี่ยง)
suggest (แนะนำ)
stand (อดทน)
stop (หยุด)
tolerate (อดทน)
ยกตัวอย่างเช่น
Jimmy has stopped smoking for two month.
(จิมม่ได้หยุดสูบบุหรี่มาได้สองเดือนแล้ว)
I enjoy taking photos.
(ฉันสนุกกับการถ่ายภาพ)
2. คำกริยา (verb) ที่ตามหลังคำบุพบท (preposition) นั้นต้องเป็น gerund ตัวอย่างคำบุพบทเช่น
about (เกี่ยวกับ)
by (โดย)
after (หลังจาก)
in (ใน)
apart from (นอกเหนือจาก)
instead of (แทนที่จะ)
at (ที่)
on (บน)
because of (เนื่องจาก)
without (ปราศจาก)
before (ก่อนหน้า)
from (จาก)
with (กับ)
ยกตัวอย่างเช่น
Before sleeping, Jan always drink a cup of warm milk.
(ก่อนนอน แจนมักตื่มนมอุ่นๆเสมอ)
3. คำตามหลังคำคุณศัพท์บางคำต้องเป็น Gerund ยกตัวอย่างเช่น
afraid of (กลัว)
fond of (ชอบที่จะ)
angry about / at (โกรธ)
interested in (สนใจใน)
bad at (ไม่ถนัด ,ไม่ดี)
proud of (ภูมิใจกับ)
busy (ยุ่ง)
sick of (เบื่อที่จะ)
clever at (ฉลาด,เก่ง)
sorry about (เสียใจกับ)
crazy about (บ้าคลั่ง)
tired of (เหนื่อยใจกับ)
disappointed about (ผิดหวังเกี่ยวกับ)
worried about (กังวลเกี่ยวกับ)
excited about (ตื่นเต้นเกี่ยวกับ)
worth (มีคุณค่า,สมควรแก่)
famous for (มีชื่อเสียงใน)
ตัวอย่างการใช้งาน
I am tired of working with my boss.
(ฉันรู้สึกเหนื่อยกับการทำงานกับนายของฉัน)
4. คำบางคำซึ่งลงท้ายด้วย to ต้องตามด้วย gerund แทนที่จะเป็นกริยาช่องหนึ่ง เช่น
accustomed to (ชิน,คุ้นเคยกับ)
object to (คัดค้านต่อ)
confess to (สารภาพ)
used to (ชิน,คุ้นเคยกับ)
look forward to (ตั้งหน้าตั้งตารอคอย)
opposed to (คัดค้านต่อ)
ตัวอย่างการใช้งาน
I look forward to working with you.
(ผมรอคอยที่จะทำงานกับคุณ)
5. คำกริยาบางคำสามารถที่จะตามด้วย infinitive with to หรือ gerund ได้ ยกตัวอย่างเช่น
advise (แนะนำ)
allow (อนุญาต)
attempt (พยายาม)
bear (ทน)
begin (เริ่มต้น)
cease (หยุด)
continue (ทำต่อ)
dislike (ไม่ชอบ)
encourage (สนับสนุน)
fear (กลัว)
forbid (ห้าม)
intend (ตั้งใจ)
learn (เรียนรู้)
omit (ละเลย)
permit (ยอมให้, อนุญาต)
plan (วางแผน)
propose (เสนอ)
recommend (แนะนำ)
start (เริ่มต้น)
ยกตัวอย่างเช่น
I learn fishing with my friends. หรือ I learn to fish with my friends.
สองประโยคนี้ความหมายเหมือนกันคือ ฉันเรียนตกปลากับเพื่อนของฉัน
6. คำกริยาบางคำเมื่อตามด้วย gerund หรือ infinitive with to แล้วความหมายเปลี่ยนไปเช่น
กลุ่มที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยคำดังนี้
forget (ลืมไป)
regret (เสียใจ)
remember (จำได้)
stop (หยุด)
try (พยายาม)
เมื่อตามด้วย gerund (v.ing) นั้นแสดงว่า เหตุการณ์ได้ทำไปแล้ว
แต่เมื่อตามด้วย infinitive with to ( to + verb 1) แสดงความหมายว่าเหตุการณ์ยังไม่ได้ทำ
ยกตัวอย่างเช่น
I forget writing my report.
ฉันได้ลืมที่การเขียนรายงานไปเลย – ซึ่งในความหมายที่ผู้พูดต้องการสื่อว่าลืมไปแล้ว
I forget to write my report.
ฉันได้ลืมที่จะเขียนรายงานไปเลย – ซึ่งในความหมายที่ผู้พูดต้องการสื่อว่าเขายังไม่ได้เขียน
กลุ่มที่ 2 ซึ่งประกอบด้วยคำดังนี้
hate (เกลียดชัง)
like (ชอบ)
love (รัก)
prefer (ชอบมากกว่า)
เมื่อตามด้วย gerund (v.ing) นั้นแสดงว่า เป็นการกระทำที่เป็นประจำ เป็นนิสัย
แต่เมื่อตามด้วย infinitive with to ( to + verb 1) แสดงความหมายว่า เป็นการกระทำในบางเวลาเท่านั้น
ยกตัวอย่างเช่น
He hates eating spicy food.
เขาเกลียดการทานอาหารรสจัด – ในความหมายนี้เขาไม่ชอบทานเผ็ดเป็นนิสัย
He hates to eat spicy food.
เขาเกลียดการทานอาหารรสจัด – ในความหมายนี้เขาไม่ชอบทานเผ็ดเป็นบางครั้งบางคราวเท่านั้น